บทความ

กำลังแสดงโพสต์จาก กุมภาพันธ์, 2013

CPU 80286

รูปภาพ
    อิน เทล 80286  (หรือเรียกอีกอย่างว่า iAPX 286) เปิดตัวเมื่อวันที่ 1 กุมภาพันธ์ ค.ศ.1982 เป็น CPU 16 บิต ในตะกูล x86 เป็นไมโครโพรเซสเซอร์ที่มี ทรานซิสเตอร์ 134,000 ตัว เป็นเหมือนญาติร่วมสมัยของ 80186 80286 สามารถรันซอฟต์แวร์ส่วนใหญ่ที่เขียนขึ้นมาก่อนหน้านี้  อินเทล 8086 และ 8088. มันถูกสร้างขึ้นมาสำหรับเครื่องพีซีของ IBM / AT ในปี 1984 และจากนั้นก็ใช้กันอย่างแพร่หลายในเครื่อง PC/AT ส่วนใหญ่ จนถึงปี ค.ศ. 1990  80286 เป็น CPU ตัวแรกในตะกูลไมโครโปรเซสเซอร์ที่ทันสมัยที่สุดในการจัดการหน่วยความจำและ ความสามารถในการป้องกัน     (การจัดการหน่วยความจำ เป็นกระบวนการในการจัดการหน่วยความจำคอมพิวเตอร์ นั่นคือการที่สามารถจองหน่วยความจำ เมื่อมีการร้องขอ และคืนหน่วยความจำไปเมื่อไม่มีการใช้งาน วิธี การจัดการหน่วยความจำได้พัฒนาเรื่อยมาเพื่อให้มีประสิทธิภาพในการจัดการ หน่วยความจำเพิ่มขึ้น โดยเฉพาะอย่างยิ่งวิธีการใช้หน่วยความจำเสมือน ซึ่งเป็นวิธีการที่นำพื้นที่ของหน่วยความจำรองมาทำหน้าที่ในลักษณะเดียวกับ หน่วยความจำหลัก ทำให้ปริมาณหน่วยความจำมีมากขึ้น ดังนั้นประสิทธิภาพของตัวจัดการหน่ว

Intel 8086 / 8088

รูปภาพ
Intel 8086 / 8088 (1978-1979)    ซีพียูรุ่น 8086 (เรียกอีกอย่างว่า iAPX 86) เป็นชิปไมโครโปรเซสเซอร์ 16 บิตได้รับการออกแบบโดย Intel ระหว่างต้นปี 1976 และกลางปี 1978 เมื่อมันได้รับการปล่อยตัว8086 ก่อให้เกิดสถาปัตยกรรม x86 ของโปรเซสเซอร์ในอนาคตของบริษัทอินเทล  Intel 8088 ถูกปล่อยออกมาในปี 1979 เป็นชิปที่มีการแก้ไขเล็กน้อยภายนอกบัสข้อมูล 8 บิต (อนุญาตให้ใช้จากที่ถูกกว่าและน้อยกว่าชิปสนับสนุนตรรกะ) และเป็นที่น่าสังเกตว่าเป็นหน่วยประมวลผลที่ใช้ในเครื่องพีซีของไอบีเอ็ม ซีพียูรุ่น 8086 เป็นซีพียูของอินเทลที่ทำงานแบบ 16 บิตแบบสมบูรณ์ เพราะทั้งสถาปัตยกรรม ภายในและภายนอกเป็นแบบ 16 บิตอย่างแท้จริง ต่างจาก 8088 ที่สถาปัตยกรรมภายในเป็น ระบบประมวลผลแบบ 16 บิต แต่สถาปัตยกรรมภายนอกที่ใช้ในการเชื่อมต่อกับดาต้าบัส เพื่อรับส่งข้อมูลเป็นแบบ 8 บิต Intel 8088 Intel 8086 Architecture (Assembly 8086) รายการเครื่องคอมพิ้วเตอร์ที่ใช้ CPU 8086 Seattle Computer Products shipped S-100 bus based 8086 systems (SCP200B) as early as November 1979. The Norwegian Mycron 2000, introduc

ซีพียู (CPU)

รูปภาพ
  หน่วยประมวลผลกลาง (อังกฤษ: central processing unit ) หรือย่อว่า ซีพียู (CPU) เป็นวงจรอิเลคทรอนิกส์ที่ทำงาน หรือประมวลผล ตามชุดของคำสั่งเครื่องจากซอฟต์แวร์ คำนี้เริ่มใช้ในอุตสาหกรรมคอมพิวเตอร์ตั้งแต่ต้นศตวรรษ 1960s   หน่วยประมวลผลเปรียบเสมือนเป็นสมองของคอมพิวเตอร์ ในการทำหน้าที่ตัดสินใจหรือคำนวณ จากคำสั่งที่ได้รับมา เช่น การเปรียบเทียบ การกระทำการทางคณิตศาสตร์ ฯลฯ โดยมีกระบวนการพื้นฐานคือ อ่านชุดคำสั่ง (fetch) ตีความชุดคำสั่ง (decode) ประมวลผลชุดคำสั่ง (execute) อ่านข้อมูลจากหน่วยความจำ (memory) เขียนข้อมูล/ส่งผลการประมวลกลับ (write back) สถาปัตยกรรมของหน่วยประมวลผลกลาง ประกอบไปด้วย ส่วนควบคุมการประมวลผล (control unit) และ ส่วนประมวลผล (execution unit) และจะเก็บข้อมูลระหว่างการคำนวณ ไว้ในระบบเรจิสเตอร์

โปรแกรมคอมพิวเตอร์ (computer program)

รูปภาพ
โปรแกรมคอมพิวเตอร์  (อังกฤษ: computer program)    คือ กลุ่มชุดคำสั่งที่ใช้อธิบายชิ้นงาน หรือกลุ่มงานที่จะประมวลผลโดยคอมพิวเตอร์ โปรแกรมคอมพิวเตอร์ อาจหมายถึง ซอฟต์แวร์ แอปพลิเคชัน หรือ โปรแกรม    โปรแกรมคอมพิวเตอร์ส่วนใหญ่นั้นเป็นชุดคำสั่งที่ออกแบบตามขั้นตอนวิธี โดยปกติแล้วเขียนโดยโปรแกรมเมอร์ หรือไม่ก็สร้างโดยโปรแกรมอื่น โปรแกรมคอมพิวเตอร์ชุด หนึ่ง ๆ อาจเขียนขึ้นด้วยระบบรหัส หรือที่เรียกว่า ภาษาเครื่อง ซึ่งมักเขียนได้ยากและเหมาะกับช่างเทคนิคเฉพาะทางเท่านั้น ภายหลังจึงได้มีการสร้าง ภาษาโปรแกรม ที่ใกล้เคียงภาษามนุษย์มากขึ้น เช่น      ภาษาแอสเซมบลี (Assembly)      ภาษาซี (C)      ภาษาโคบอล (COBOL)      ภาษาเบสิก (BASIC)      ภาษา C#        ภาษาจาวา       ฯลฯ     ผู้เขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์อาจเขียนโปรแกรมไว้ใช้ส่วนตัว หรือเพื่อให้ผู้อื่นใช้ต่อ ไม่ว่าจะเป็น โปรแกรมประยุกต์  หรือไลบรารี เช่น โปรแกรมสำหรับวาดภาพ (graphics) โปรแกรมประมวลผลคำ (word processing) โปรแกรมตารางจัดการ (spread sheet) โปรแกรมระบบ (systems software) ซึ่งเป็นโปรแกรมที่ควบคุมการทำงานของเครื่องคอมพิวเตอร์

ไวรัสคอมพิวเตอร์ (computer virus)

  ไวรัสคอมพิวเตอร์ตัวแรกของโลก ปี พ.ศ. 2525 (ค.ศ. 1982) มีการตรวจพบไวรัสชื่อ "Elk Cloner" นั้นเป็นคอมพิวเตอร์ไวรัสบนเครื่องคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลตัว แรก ซึ่งแพร่กระจาย คือในวงที่กว้างออกไปกว่าภายในห้องทดลองที่สร้างโปรแกรม โปรแกรมนี้ถูกเขียนขึ้นโดย Rich Skrenta โดยไวรัสนี้จะติดไปกับระบบปฏิบัติการ Apple DOS 3.3 ผ่านทาง boot sector ของฟล็อปปี้ดิสก์ ณ เวลานั้นผลของมันทำให้ผู้ใช้คอมพิวเตอร์บางคนนึกว่าไวรัสคอมพิวเตอร์เกิดจาก มนุษย์ต่างดาว เพราะทำให้การแสดงภาพที่จอกลับหัว, ทำตัวอักษรกะพริบ, ขึ้นข้อความต่างๆออกมา ไวรัสคอมพิวเตอร์ (computer virus) ซึ่งเรียกชื่อเลียนแบบ ไวรัส ที่เป็นสิ่งมีชีวิต แต่เป็นคำเรียกแบบย่อของ โปรแกรมคอมพิวเตอร์ ที่มีชุดคำสั่งระบบปฏิบัติการใดๆก็ตามเท่าที่โปรแกรมถูกเขียนขึ้นมาเพื่อการ ใดการหนึ่งทั้งที่มีประโยนช์ทางการทำงานตามผู้เขียนโปรแกรมนั้นขึ้นมา    ไวรัสคอมพิวเตอร์ ที่บุกรุกเข้าไปในเครื่อง คอมพิวเตอร์ โดยไม่ได้รับความยินยอมจาก ผู้ใช้ ส่วนมากมักจะมีประสงค์ร้ายและสร้างความเสียหายให้กับระบบของเครื่องคอมพิวเตอร์นั้นๆ ในเชิงเทคโนโลยี ความมั

ยุคไมโครคอมพิวเตอร์ชนิด ๑๖ บิต

รูปภาพ
  IBM PC 5150 with keyboard and green monochrome monitor (5151), running MS-DOS 5.0 {{GFDL}} ยุคไมโครคอมพิวเตอร์ชนิด 16 บิต (พ.ศ. 2524 - 2528)           ในยุคนี้เป็นยุคไมโครคอมพิวเตอร์ชนิด 16 บิต ไมโครโพรเซสเซอร์ที่ใช้มีคุณสมบัติดังต่อไปนี้           -  สามารถรับคำสั่งได้ถึง 16 ล้านคำสั่งหรือใช้ขนาดข้อมูลได้ถึง 16 ล้านตัวอักษร           -  สามารถประมวลหรือเรียกใช้ข้อมูลได้ ขนาด 16 บิตต่อครั้ง ตัวเลขที่มีค่ามากกว่า 65,536 จะต้องถูกแยกประมวลเป็นหลายๆ ส่วนทำให้มีประสิทธิภาพต่ำ ข้อมูลที่ใช้ทั่วไปทางธุรกิจก็ยังมีขนาดมากกว่านี้ จึงทำให้ไมโครคอมพิวเตอร์ชนิด 16 บิต ยังไม่มีประสิทธิภาพมากพอที่จะนำไปใช้ทางด้านธุรกิจ           -  มีวิทยาการในการเปิด หรือปิดวงจรทรานซิสเตอร์ได้เร็วถึง 12.5 ล้านครั้งต่อวินาที (เร็วกว่าไมโครโพรเซสเซอร์รุ่นแรกถึง 116 เท่า)           -  สามารถบรรจุทรานซิสเตอร์ได้ถึง 150,000 ตัว (มากกว่าไมโครโพรเซสเซอร์รุ่นแรกถึง 65 เท่า)           -  สามารถประมวลคำสั่งได้เร็วถึง 2.7 ล้านครั้งต่อวินาที (เร็วกว่าไมโครโพรเซสเซอร์รุ่นแรกถึง 44 เท่า)      

ซูเปอร์คอมพิวเตอร์ (supercomputer) ไอบีเอ็ม โรดรันเนอร์

รูปภาพ
IBM Roadrunner (ไอบีเอ็ม โรดรันเนอร์)  รูปภาพจาก    th.wikipedia    ซูเปอร์คอมพิวเตอร์ (supercomputer) เป็นคอมพิวเตอร์ที่มีความสามารถสูงที่สุดในกลุ่มมีขนาดใหญ่ ซูเปอร์คอมพิวเตอร์ (Super Computer) สามารถประมวลผลข้อมูลในปริมาณมากรวมถึงการประมวลผลงานที่มีรูปแบบอันซับซ้อน มีความรวดเร็วในการคำนวณได้มากกว่าหนึ่งล้านล้านต่อวินาที ( 1 Trillion calculations per second ) ภายในซูเปอร์คอมพิวเตอร์ สามารถรองรับโปรเซสเซอร์ได้มากกว่า 100 ตัว หน่ายวัดความเร็วของคอมพิวเตอร์นี้คือ หน่วยกิกะฟลอบ (Gigaflop)     ซูเปอร์คอมพิวเตอร์ เป็นเครื่องคอมพิวเตอร์ที่เหมาะกับงานคำนวณที่ต้องมีการคำนวณตัวเลขจำนวนหลายล้านตัวภายในเวลาอันรวดเร็ว เช่น งานพยากรณ์อากาศ ที่ต้องนำข้อมูลต่าง ๆ เกี่ยวกับอากาศทั้งระดับภาคพื้นดิน และระดับชึ้นบรรยากาศเพื่อดูการเคลื่อนไหวและการเปลี่ยนแปลงของอากาศ งานนี้จำเป็นต้องใช้เครื่องคอมพิวเตอร์ที่มีสมรรถนะสูงมาก นอกจากนี้มีงานอีกเป็นจำนวนมากที่ต้องใช้ซูเปอร์คอมพิวเตอร์ (Super Computer) ซึ่งมีความเร็วสูง เช่น งานการวิจัยนิวเคลียร์ งานควบคุมทางอวกาศ งานประมวลผลภาพทางการแ